วันเสาร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2562

Examination of the Relationship between Coaching Efficacy and Conflict Management Style in Soccer Coaches

https://eric.ed.gov/?q=The+study+of+executive+conflict+management+behavior&id=EJ1171326

Examination of the Relationship between Coaching Efficacy and Conflict Management Style in Soccer Coaches
Balyan, Melih
Universal Journal of Educational Research, v6 n3 p361-365 2018
The purpose of the present study was to examine the relationship between coaching efficacy and conflict management style of the soccer coaches. The sample included 224 male soccer coaches ranging in coaching experience from 2 to 15 years. The Coaching Efficacy Scale and The Rahim Organizational Conflict Inventory were used to measure coaching efficacy and conflict management respectively. Pearson correlation coefficient was calculated to examine the relationship among variables. Further, linear regression analyses with stepwise method were used to test the ability of the coaching efficacy to conflict management. Results indicated positive significant association between coaching efficacy and integrating conflict management. Moreover, coaching efficacy has been found to have ability to predict several conflict management styles. Based on the results obtained in the present study, it was concluded that soccer coaches may be more predispose to use certain conflict management styles depending on their coaching efficacy level.
Horizon Research Publishing. 506 North Garfield Avenue #210, Alhambra, CA 91801. e-mail: editor@hrpub.org; Web site: http://www.hrpub.org
Publication Type: Journal Articles; Reports - Research
Education Level: N/A
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: N/A
Authoring Institution: N/A
Identifiers - Location: Turkey


http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/article_detail.php?ArticleID=175070
ชื่อบทความ : การศึกษาแบบพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3
ผู้แต่ง
วินัย ทองภูบาล
อรณิชชา อัครพิชากุล

ที่อยู่
1. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎนครราชสีมา
2. โรงเรียนบ้านละหานทราย (คุรุราษฎร์บารุงวิทยา) บุรีรัมย์

ชื่อวารสาร : วารสารวิจัยและพัฒนา วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์  ปีที่ : 11  ฉบับที่ : 1  เลขหน้า : 295-304  ปีพ.ศ. : 2559

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาแบบพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนัก งานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 2. เปรียบเทียบแบบพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การบริหารงาน ระดับการศึกษา และขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 จำนวน 140 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เก็บข้อมูลโดยใช้เครื่องมือ Thomas – Kilmann Conflict Mode Instrument (TKI) วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้ความถี่ ร้อยละ และไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า 1. แบบพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ส่วนใหญ่เป็นแบบการประนีประนอม รองลงมาคือแบบการหลีกเลี่ยง แบบการยอมให้ แบบการเอาชนะ และแบบการร่วมมือตามลำดับ โดยส่วนใหญ่มีการแสดงออกอยู่ในระดับกลาง 2. ผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 3 ที่มีเพศ ประสบการณ์การบริหารงานระดับการศึกษาและขนาดของโรงเรียนต่างกันมีแบบ พฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

คำสำคัญ
แบบพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้ง; ผู้บริหารสถานศึกษา

Abstract

This research aimed to 1. study conflict on behavior management style of school administrators under Buriram primary educational service area 3 and 2. comparative conflicton behavior management style of school administrators under Buriram primary educational service area 3 classified by sex, work experience, qualification and school size. The sample consisted of 140 school administrators by random sampling. The research instruments were Thomas – Kilmann Conflict Mode Instrument (TKI) The frequency, percentage and chi – square test were used for data analysis. The research results were as follows 1. the conflict on behavior management style of school administrators under Buriram primary educational service area 3 by overall at the moderate level, Compromising style was first and followed by Avoiding style, Accommodating style, Competition style, and Collaborating style and 2. school administrators under Buriram primary educational service area 3 classified by sex, work experience, qualification and school size there were significant difference conflict on behavior management style at .05

Keywords
conflict on behavior management style; school administrators

การศึกษาพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา ในจังหวัดนครราชสีมา
A Study of Behaviors in Conflict Administration of Primary School Administrators in Nakhon Ratchasima

Classification :.DDC: 372.1201
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของ ผู้บริหารโรงเรียน และเปรียบเทียบพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนตามทัศนะของผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนโรงเรียนประถมศึกษาในจังหวัดนครราชสีมาจำแนกตามขนาดของโรงเรียน ประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่งและวุฒิการศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้จำนวน 891 คน เป็นผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 297 คน ครูผู้สอน 594 คน ได้มาจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าแบ่งเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 สถานภาพโดยทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 แบบประเมินพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียน และตอนที่ 3 แบบแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา ตามทัศนะของผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที (t–test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. ผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนมีทัศนะต่อพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาอยู่ในระดับปานกลาง 2. ผู้บริหารโรงเรียนที่มีประสบการณ์ในการดำรงตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และขนาดโรงเรียนแตกต่างกัน มีทัศนะต่อพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียน ประถมศึกษา ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ ในการดำรงตำแหน่งแตกต่างกัน มีทัศนะต่อพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. ครูผู้สอนที่มีวุฒิการศึกษา และขนาดโรงเรียนแตกต่างกัน มีทัศนะต่อพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. ผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอน มีทัศนะต่อพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา ด้านการประนีประนอม ด้านการเผชิญหน้า ด้านการหลีกเลี่ยง ด้านการร่วมมือกัน และด้านการใช้อำนาจ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 6. ความคิดเห็นเพิ่มเติม เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารความขัดแย้งของ ผู้บริหารโรงเรียน ที่ผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้สอนมีความคิดเห็นร่วมกันตามลำดับดังต่อไปนี้ ด้านการประนีประนอม คือ ควรใช้หลักธรรมในการบริหารเพื่อให้เกิดความยุติธรรม ด้านการเผชิญหน้า คือ ควรให้คู่กรณีที่มีความขัดแย้ง มาพบเพื่อพูดกันในการร่วมกันแก้ไขปัญหา ด้านการหลีกเลี่ยงคือไม่รับรู้ว่ามีปัญหาความขัดแย้งเกิดขึ้นในองค์การของตนเองคอยหลบหน้า ไม่ยอมเจรจาโดยไม่สนในต่อสถานการณ์ที่เกิดขึ้นและไม่ชอบอยู่โรงเรียน ด้านการร่วมมือกัน คือ ร่วมมือร่วมใจกันในการพิจารณาแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น โดยใช้ความคิดร่วมกันในการวินิจฉัยปัญหาเพื่อทำให้เกิดประโยชน์ต่อการบริหารงาน และด้านการใช้อำนาจ คือ พยายามทำทุกอย่างเพื่อให้ได้มาซึ่งความต้องการของตนเอง โดยเสนอให้ผู้อื่นรับรู้วิธีการแก้ไขปัญหาของตนเองเท่านั้น The objectives of the thesis aimed at studying the conflict administrating behaviors of school administrators and comparing the conflict administrating behaviors to those perceived by the primary school administrators and teachers in Nakhon Ratchasima, regarding the school sizes, administrative experiences, and education qualifications. The sample group randomly stratified to be studied were 297 school administrators and 594 school teachers. The research instruments in data collection employed a rating scale questionnaire divided into three parts. The first part was the general status of the respondents whereas the second part was the evaluation of the conflict administrating behaviors of the school administrators. The third part was the additional comments towards the conflict administrating behaviors of the primary school administrator, perceived by school administrators and teachers. Meanwhile, frequency distribution, percentage, means ( ), standard deviation (S.D), t-test, and One-way ANOVA were employed in data analysis. The findings of the study revealed that : 1. School administrators and teachers showed their attitudes towards the conflict administrating behaviors of school administrators at the average level. 2. Regarding to the attitudes of school administrators having different administrative experiences, educational qualifications, and working in different school sizes, towards the conflict administrating behaviors of primary school administrators, there was no statistically significant difference at the .05 level. 3. Regarding to the attitudes of school teachers having different administrative experiences, towards the conflict administrating behaviors of primary school administrators, there was no statistically significant difference at the .05 level. 4. Regarding to the attitudes of school teachers having different education qualifications and working in different school sizes, towards the conflict administrating behaviors of primary school administrators, there was a statistically significant difference at the .05 level. 5. Regarding to the attitudes of school administrators and teachers, towards the conflict administrating behaviors of primary school administrators, in terms of the compromise aspect, the confrontation aspect, the avoidance aspect, the cooperation aspect, and the authorization aspect, there was a statistically, significant difference at the .05 level. 6. The school administrators and teachers’ additional comments towards the conflict administrating behaviors of primary school administrators were listed simultaneously. In terms of compromise, moral principles should be used in administration. In terms of confrontation, opponents should be allowed to discuss in solving problems. In terms of avoidance, administrators tried not to understand the organization happenings, avoided to negotiate, paid no interest in the situations and were out of school. In terms of cooperation, administrators cooperatively considered the problems, analyzed the problems for the benefit of job administration. In terms of authorization, administrators tried the best to get what they wanted by presenting only their own problem solving approaches to others.
สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Address: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
Email: si_num42@hotmail.com
Role: ประธานกรรมการ
Role: กรรมการ
Role: กรรมการ
Created: 2546
Issued: 2548-08-06
Text.Thesis.Masters
application/pdf
ISBN: 9743161996
CallNumber: 372.1201
tha
การตัดต่อด้วยAI



+วิเคราะห์โครงสร้างพื้นฐาน  มีอาคารเรียน 3 หลัง มีจำนวน ห้องเรียน 165
ห้อง
สารสนเทศ  ระบบ sisa  Download 195.1 Mbps
Upload       33.94 Mbps
Ping             37      ms
IP              192.168.151.43
Provider    True Internet
+จำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด 600 เครื่อง wifi 32  
+วิเคราะห์ระบบสรสนเทศในสถานศึกษา
   -ระบบสารสนเทศของกระทรวงศึกษาธิการ คือ ระบบ PVIS
   -ระบบสารสนเทศนอกกระทรวง คือ ระบบhttps://rdserver.rd.go.th
   -ระบบสารสนเทศเฉพาะสถานศึกษา คือ SISA

เจ้าของ Norman Noraset sinprasong

CORDIAL PREMIUM PLUS CARE SERUM 
/15ML  เซรั่มพรีเมี่ยมพลัสแคร์เซรั่ม / 15 มล
เซรั่มสกัดคุณค่าที่สุดจากโปรตีนน้ำนมบริสุทธิ์ช่วยยกระชับผิวหน้า ให้เต่งตึง ลดริ้วรอยให้ดูจางลง ต่อต้านอนุมูลอิสระทั้งยังมี สกัดมาจาก Bearberry, Blueberry, Cranberry, Mulberry, Pear, Buckeye,
Asculum California, Dockweed ชึ่งได้จากแหล่งที่ดีที่สุดของโลกจากประเทศสวิตเซอร์แลนด์  ช่วยให้ผิวหน้าขาวเนียนสวยและช่วยชะลอการแก่ตัวของผิวพรรณได้อย่างยาวนานมากยิ่งขึ้น เนื้อครีมมีค่า pH ที่เป็นกลางจึงไม่ระคายเคืองผิว ทำให้อ่อนโยน แลดูผิวขาวอมชมพู มีความปลอดภัยสูง แลดูผิวอ่อนกว่าวัย ซึ่งเสริมด้วย คอลลาเจนสูตรพิเศษ ultra-collagen และ วิตามินอี vitamin e  ลดการอักเสบของผิวหนัง ลดปัญหาการเกิดสิว ช่วยชะลอริ้วรอย กระชับรูขุมขนให้ตื้นขึ้น เพิ่มความชุ่มชื่นให้กับผิวหน้า แลดูกระจ่างใส ปกป้องผิวพรรณจากมลภาวะ ทำให้ผิวแลดูสดใสสุขภาพดีอย่างเป็นธรรมชาติ

Serum extract from pure protein milk to help tighten the face firmly to reduce wrinkles to fade. It also contains extracts from Bearberry, Blueberry, Cranberry, Mulberry, Pear, Buckeye, Asculum California, and Dockweed from the best sources in the world from Switzerland. The skin is smooth and help slow down the aging of the skin longer. The cream has a neutral pH, so it does not irritate the skin, making it look mild and pink. High security Skin looks younger. Supplemented by Special Collagen ultra-collagen and vitamin E vitamin E reduce inflammation of the skin. Reduce acne. Helps to slow down wrinkles. To tighten the pores to be shallow. Add moisture to the skin. Looks radiant. Protect the skin from pollution. Skin appears radiant, healthy and natural.

ส่งการบ้าน ครั้งที่ 3 จัดทำ e-Portfolio                            ประวัติ และผลงาน นาย นรเศรษฐ์ สินประสงค์ การศึกษาระดับ     มั...